บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2017

บทที่ 4 พลังงานนิวเคลียร์

รูปภาพ
พลังงานนิวเคลียร์ 4.1. อนุภาคมูลฐานของอะตอม 4.1.1.  สัญลักษณ์นิวเคลียร์  คือ สัญลักษณ์ที่เขียนแสดงเลขมวลและเลขอะตอม      เลขอะตอม  แสดงถึงจำนวนโปรตอนในอะตอม มีค่าเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน      เลขมวล  แสดงถึงผลรวมของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอน 4.2. ไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์ 1.  ไอโซโทป  คือ ธาตุที่มีเลขอะตอมเหมือนกัน เลขมวลต่างกัน หรือ ธาตุที่มีโปรตอนเท่า แต่ นิวตรอนต่าง 2.  ไอโซโทน  คือ ธาตุที่มีนิวตรอนเท่า แต่ โปรตอนต่าง 3.  ไอโซบาร์  คือ ธาตุที่มีเลขมวลเท่า แต่ เลขอะตอมต่าง 4.3. ธาตุกัมมันตรังสี      ธาุกัมมันตรังสี   คือ ธาตุที่มีสมบัติในการแผ่รังสี      กัมมันตภาพรังสี  คือ ปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้อย่างต่อเนื่อง หมายเหตุ  ถ้าเปรียบเทียบอำนาจทะลุทะลวง แอลฟา บีตา แกมมา จากน้อยไปมากจะเป็น แอลฟา บีตา แกมมา โรงไฟฟ้านิวเคลียร์    คือ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนชนิดหนึ่งใช้ความร้อนทำให้น้ำเดือดกลายเป็นไอน...

บทที่ 3 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

รูปภาพ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 3.1 ลักษณะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า     เป็นคลื่นตามขวาง ประกอบด้วยสนามไฟฟ้า (E) และสนามแม่เหล็ก(B) มีการสั่นในแนวตั้งฉากกัน และอยู่บนระนาบตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ จึงสามารถเคลื่อนที่ในสุญญากาศได้ กฎมือขวา   ให้นิ้วชี้ไปตามแกนสนามไฟฟ้า กำนิ้วที่เหลือลงมาทางสนามแม่เหล็ก นิ้วหัวแม่มือจะแสดงการเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า     - การเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้า ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็ก     - การเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็ก ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้า 3.2. สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สิ่งที่ควรรู้     1. ถ้าเรียงลำดับสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากความยาวคลื่นจากมากไปน้อย จะได้ วิทยุ ไมโครเวฟ อินฟาเรด แสง อัลตราไวโอเลต รังสีเอ็กซ์ รังสีแกมม่า     2. ความเร็ซในการเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญากาศ มีค่าเท่ากับ 3x10 กำลัง 8เมตร/วินาที     3. ความสัมพันธ์ระหว่าง ความยาวคลื่น ความ...

บทที่ 2 คลื่นเสียง

รูปภาพ
คลื่นเสียง 2.1 การเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของเสียง     - เสียงเป็น คลื่นกล  เพราะมีสมบัติการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยงเบน     - เสียงเป็น คลื่นกลตามยาว  เพราะต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ตัวกลางสั่นขนานกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น     -โมเลกุลของอากาศในบริเวณที่เป็นส่วน อัด จะมีมากกว่าเดิม ทำให้ความดันของอากาศ เพิ่มขึ้น     -  โมเลกุลของอากาศในบริเวณที่เป็นส่วน ขยาย จะมีมากกว่าเดิม ทำให้ความดันของอากาศ ลดลง 2.2 ความถี่ อัตราเร็ว และความยาวคลื่น 2.2.1.  ความถี่ของเสียง  ใช้บอกระดับเสียง ความถี่สูงจะมีระดับเสียงสูงและแหลม ถ้ามีความถี่ต่ำจะมีระดับเสียงต่ำและทุ้ม     -  มนุษย์ทั่วไปได้ยินเสียงในช่วงความถี่ 20 - 20000 เฮิรตซ์     -  ความถี่ต่ำกว่า 20 เฮิรตซ์ เรียกว่า อินฟาโซนิก เช่น การสื่อสารของช้าง     -  ความถี่สูงกว่า 20000 เฮริตซ์ เรียกว่า อัลตราโซนิค เช่น การหาอาหารของค้างคาว โลมา วาฬ 2.2.2.  อัตราเร็วของเสียง   ขึ้นอยู่กับสภาพตัวกลาง เช่...

บทที่ 1 คลื่นกล

รูปภาพ
คลื่นกล 1.1 ความหมายและประเภทของคลื่น                      คือ การส่งผ่านพลังงานจากจุดหนึ่งไปจุดหนึ่งโดยไม่นำพาสสารไปพร้อมกับพลังงาน มีสมบัติการสะท้อน การหักเห การเลี้ยงเบน และการแทรกสอด การจำแนกคลื่นตามลักษณะการอาศัยตัวกลาง  แบ่งเป็น 2 แบบ คือ 1.คลื่นกล  เป็นคลื่นที่อาศับตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น คลื่นเสียง คลื่นผิวน้ำ คลื่นในเส้นเชือก เป็นต้น 2.คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  เป็นคลื่อนที่ไม่จำเป็นต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ได้แก่ คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นอินฟาเรด คลื่นแสง คลื่นอัลตราไวโอเล็ต รังสีเอ็กซ์ และรังสีแกมมา   จำแนกคลื่นตามทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นและการสั่นของอนุภาคตัวกลาง  แบ่งเป็น 2 แบบ คือ 1.คลื่นตามขวาง  คือ คลื่นที่มีทิศทางการสั่นของอนุภาคตัวกลางตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นผิวน้ำ คลื่อนในเส้นเชือก 2. คลื่นตามยาว  คือคลื่นที่มีทิศการสั่นของอนุภาคตัวกลางขนานกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นเสียง คลื่นที่เกิดจากการอัดลวดสปริงแล้วปล่อย หมา...

ประวัติส่วนตัว

รูปภาพ
ป ร ะ วั ติ ส่ ว น ตั ว ชื่อ   นางสาว สาธิกา สุวรรณบุตรวิภา ชื่อเล่น   ซัทจัง อายุ  17 เกิดวันที่   6 พฤศจิกายน 2542 ชั้น   ม.6/5     เลขที่  25 โรงเรียน   เทพลีลา สายการเรียน  อังกฤษ-ญี่ปุ่น วิชาที่ชอบ  ญี่ปุ่น สิ่งที่ชอบ   แมว