ประวัติส่วนตัว รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ กันยายน 04, 2560 ประวัติส่วนตัว ชื่อ นางสาว สาธิกา สุวรรณบุตรวิภา ชื่อเล่น ซัทจัง อายุ 17 เกิดวันที่ 6 พฤศจิกายน 2542 ชั้น ม.6/5 เลขที่ 25 โรงเรียน เทพลีลา สายการเรียน อังกฤษ-ญี่ปุ่น วิชาที่ชอบ ญี่ปุ่น สิ่งที่ชอบ แมว รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ความคิดเห็น
บทที่ 1 คลื่นกล กันยายน 04, 2560 คลื่นกล 1.1 ความหมายและประเภทของคลื่น คือ การส่งผ่านพลังงานจากจุดหนึ่งไปจุดหนึ่งโดยไม่นำพาสสารไปพร้อมกับพลังงาน มีสมบัติการสะท้อน การหักเห การเลี้ยงเบน และการแทรกสอด การจำแนกคลื่นตามลักษณะการอาศัยตัวกลาง แบ่งเป็น 2 แบบ คือ 1.คลื่นกล เป็นคลื่นที่อาศับตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น คลื่นเสียง คลื่นผิวน้ำ คลื่นในเส้นเชือก เป็นต้น 2.คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นคลื่อนที่ไม่จำเป็นต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ได้แก่ คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นอินฟาเรด คลื่นแสง คลื่นอัลตราไวโอเล็ต รังสีเอ็กซ์ และรังสีแกมมา จำแนกคลื่นตามทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นและการสั่นของอนุภาคตัวกลาง แบ่งเป็น 2 แบบ คือ 1.คลื่นตามขวาง คือ คลื่นที่มีทิศทางการสั่นของอนุภาคตัวกลางตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นผิวน้ำ คลื่อนในเส้นเชือก 2. คลื่นตามยาว คือคลื่นที่มีทิศการสั่นของอนุภาคตัวกลางขนานกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นเสียง คลื่นที่เกิดจากการอัดลวดสปริงแล้วปล่อย หมา... อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 3 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กันยายน 04, 2560 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 3.1 ลักษณะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นคลื่นตามขวาง ประกอบด้วยสนามไฟฟ้า (E) และสนามแม่เหล็ก(B) มีการสั่นในแนวตั้งฉากกัน และอยู่บนระนาบตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ จึงสามารถเคลื่อนที่ในสุญญากาศได้ กฎมือขวา ให้นิ้วชี้ไปตามแกนสนามไฟฟ้า กำนิ้วที่เหลือลงมาทางสนามแม่เหล็ก นิ้วหัวแม่มือจะแสดงการเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - การเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้า ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็ก - การเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็ก ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้า 3.2. สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สิ่งที่ควรรู้ 1. ถ้าเรียงลำดับสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากความยาวคลื่นจากมากไปน้อย จะได้ วิทยุ ไมโครเวฟ อินฟาเรด แสง อัลตราไวโอเลต รังสีเอ็กซ์ รังสีแกมม่า 2. ความเร็ซในการเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญากาศ มีค่าเท่ากับ 3x10 กำลัง 8เมตร/วินาที 3. ความสัมพันธ์ระหว่าง ความยาวคลื่น ความ... อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 2 คลื่นเสียง กันยายน 04, 2560 คลื่นเสียง 2.1 การเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของเสียง - เสียงเป็น คลื่นกล เพราะมีสมบัติการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยงเบน - เสียงเป็น คลื่นกลตามยาว เพราะต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ตัวกลางสั่นขนานกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น -โมเลกุลของอากาศในบริเวณที่เป็นส่วน อัด จะมีมากกว่าเดิม ทำให้ความดันของอากาศ เพิ่มขึ้น - โมเลกุลของอากาศในบริเวณที่เป็นส่วน ขยาย จะมีมากกว่าเดิม ทำให้ความดันของอากาศ ลดลง 2.2 ความถี่ อัตราเร็ว และความยาวคลื่น 2.2.1. ความถี่ของเสียง ใช้บอกระดับเสียง ความถี่สูงจะมีระดับเสียงสูงและแหลม ถ้ามีความถี่ต่ำจะมีระดับเสียงต่ำและทุ้ม - มนุษย์ทั่วไปได้ยินเสียงในช่วงความถี่ 20 - 20000 เฮิรตซ์ - ความถี่ต่ำกว่า 20 เฮิรตซ์ เรียกว่า อินฟาโซนิก เช่น การสื่อสารของช้าง - ความถี่สูงกว่า 20000 เฮริตซ์ เรียกว่า อัลตราโซนิค เช่น การหาอาหารของค้างคาว โลมา วาฬ 2.2.2. อัตราเร็วของเสียง ขึ้นอยู่กับสภาพตัวกลาง เช่... อ่านเพิ่มเติม
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น